รางวัล ปี 2559
-
สวพ.มก. ขอแสดงความยินดี กับ รศ.ดร.สุนีย์ นิธิสินประเสริฐ อาจารย์/นักวิจัย จากคณะอุตสาหกรรมเกษตร มก. ขึ้นรับรางวัลผู้สมควรให้ปาฐกถาอายิโน๊ะโม๊ะโต๊ะ ประจำปี 2559
รศ.ดร.สุนีย์ นิธิสินประเสริฐ ผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษประจำภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ขึ้นรับรางวัลผู้สมควรให้ปาฐกถาอายิโน๊ะโม๊ะโต๊ะ ประจำปี พ.ศ.2559 โดยสมาคมเทคโนโลยีชีวภาพแห่งประเทศไทย ในผลงานเรื่อง Lactic acid bacteria: a natural weapon for health promotion of host cells เมื่อวันจันทร์ที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ.2559 ในการประชุมวิชาการประจำปีของสมาคมเทคโนโลยีชีวภาพแห่งประเทศไทย the 28th Annual Meeting of the Thai Society for Biotechnology and International Conference (TSB 2016) : “Natural Resources & Bio-based Innovative Products” ณ โรงแรมดิเอ็มเพรส จังหวัดเชียงใหม่
-
รองศาสตราจารย์ ดร.กล้าณรงค์ ศรีรอต ได้รับรางวัลศิษย์เก่าดีเด่น (Outstanding SEARCA Scholarship Alumni, OSSA) ประเภทการวิจัย ในโอกาสครบรอบปีที่ 50 ของ SEARCA (Southeast Asian Regional Center for Graduate Study and Research in Agriculture)
LOS BAÑOS, LAGUNA, Philippines — In the advent of its golden anniversary, SEARCA confers the “Outstanding SEARCA Scholarship Alumni” title to 11 esteemed alumni who were able to champion inclusive and sustainable agriculture and rural development and inspire positive change in their community, the country, as well as in the region. While SEARCA has long considered its graduate scholarship alumni as partners in its pursuit for development in Southeast Asia, this is the first time that the Center launched such a prestigious accolade for its so-called “ambassadors” in the region.
“The award gives recognition to its scholarship alumni who have personified SEARCA’s values and philosophy and have distinguished themselves through their personal and professional accomplishments, public service, and other noteworthy endeavors.” This was underscored by Dr. Gil C. Saguiguit, Jr., SEARCA Director. He added that the remarkable achievements of the SEARCA graduate scholarship alumni are also an affirmation that SEARCA has been achieving its goal of producing high quality human resources for agriculture and rural development.
The laureates are individually acknowledged for creating positive impact in four different categories, namely: Teaching, Research, Public Policy and Governance, and Advocacy.
Aside from the 11 OSSA awardees, SEARCA is also giving a special citation called the Emerging Leaders in Transition Economies (ELITE) award. This category recognizes the graduate scholarship alumni who are actively contributing to the rebuilding of their nations through their transformative leadership.
The OSSA and ELITE awardees will be honored on 25 November 2016 during the 50thanniversary celebration of SEARCA. A grand alumni homecoming is also slated on the said occasion.
Research
Dr. Klanarong Sriroth, Thailand (MS Food Science and Technology 1976, UPLB). Thailand’s starch and sugar technology is almost synonymous with the name KlanarongSriroth. As a director of KasetsartUniversity’s Cassava and Starch Technology Research Unit since its establishment in 1993, Assoc. Prof. Klanarong has fully dedicated his effort in developing both research and industry in Thailand. This has greatly contributed to improving the efficiency of the cassava and starch production process in the country, making the industry one of the vital players in Thailand’s economy. Aside from his strong ties with the Thai industrial sectors, he has also been building up the research network with international researchers from world class universities and research institutes in the field of starch technology. On the other hand, Dr.Klanarong’s major contribution to the sugar industry is the pricing system of sugarcane and sugar in Thailand. This system became an important criterion for Thai farmers to improve and maintain the sugarcane production quality, which eventually benefited all partners and stakeholders of the sugarcane and sugar industry in Thailand.
แหล่งที่มา: The Southeast Asian Regional Center for Graduate Study and Research in Agriculture (SEARCA) (http://searca.org/index.php/news-and-events/searca-news/2551-searca-recognizes-outstanding-alumni)
-
รศ.ดร.นภาวรรณ นพรัตนราภรณ์ ได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (Honorary Doctoral Degree of Philosophy) จากอธิการบดีมหาวิทยาลัยยามากูชิ
Brief Introduction of Dr. Napavarn Noparatnaraporn
by Masaaki Oka, President of Yamaguchi University
at Yamaguchi University Honorary Degree Conferment CeremonyMonday, November 14, 2016
It is now my great pleasure and honor to give a brief introduction of the road that has led Dr. Napavarn Noparatnaraporn to us today.
Dr. Napavarn graduated from Chulalongkorn University with a Bachelor’s degree in Biology in 1971. She received her Master’s degree in Microbiology from Kasetsart University in 1972 and Doctor of Engineering in Fermentation Technology from Hiroshima University, Japan, in 1987.
In 1974, Dr. Napavarn joined Kasetsart University as lecturer at the Department of Microbiology, Faculty of Science. She was promoted to Assistant Professor in 1982 and ten years later, to Associate Professor. During her time at Kasetsart, Dr. Napavarn also excelled at the Kasetsart University Research and Development Institute (KURDI), where she served as Director from 1994 to 2001 and as Acting Director for the following year. After leaving Kasetsart University in 2006, Dr. Napavarn joined the Agricultural Research and Development Agency (ARDA) and served as Executive Director until 2011 when she left the organization. She has been with the Biodiversity-Based Economy Development Office (BEDO) as an expert for Biodiversity since 2012. Further, Dr. Napavarn has been serving as the President of the Science Society of Thailand, under the Patronage of His Majesty the King since 2016.
Through her career, Dr. Napavarn has been pursuing fundamental and applied research on Photosynthetic Bacteria. In Thailand, she has achieved successful outcomes in the application of Photosynthetic Bacteria, developing research such as water clarification by using Photosynthetic Bacteria, and recycling of biomass, which is a by-product. Further, she discovered that Photosynthetic Bacteria increases egg-laying rates by activating fish sperms and ova. In Japan as well, the technology invented by Dr. Napavarn was applied to breeding eels in Shizuoka Prefecture and yellowtails and tiger puffers in Ehime Prefecture. Thailand is proud of its world-leading research on the application of Photosynthetic Bacteria to agriculture and fishing, and this achievement is thanks largely to her contribution.
Dr. Napavarn has truly been a treasure for Yamaguchi University as we built our relationship with Thailand. While she was with Kasetsart University, she served as a Thai coordinator of the JSPS-NRCT Core University Program on Microbial Resources between Yamaguchi University and Kasetsart University from 1998 to 2008. In this capacity, she worked on promoting exchange among researchers on microbiology from over 50 universities between Japan and Thailand in cooperation with Yamaguchi University. Above all, she played a leading role in facilitating the exchanges between our two universities. Dr. Napavarn is continuing to devote her energy to facilitate many projects including the MEXT-ARDA project, Asian Core Program, and Core to Core Program. We are very grateful for her many contributions and look forward to seeing her future accomplishments as she continues inspiring and guiding researchers.
-
รางวัลผลงานนวัตกรรมสายอุดมศึกษา ประจำปี 2559 โดยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
ตามที่สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ได้จัดกิจกรรมประกวดนวัตกรรมสายอุดมศึกษา ประจำปี 2559 ระหว่างวันที่ 18-20 สิงหาคม 2559 ในระหว่างงาน “มหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2559 (Thailand Research Expo 2016)” ณ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ และบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ กรุงเทพฯ นั้น ซึ่งผลการตัดสินรางวัลผงานนวัตกรรมสายอุดมศึกษา ประจำปี 2559 มีผลงานจากอาจารย์/นักวิจัย จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ดังนี้
รางวัลข้อเสนอโครงการนวัตกรรมสายอุดมศึกษา ประจาปี 2559
ด้านเกษตรและอาหาร
- รางวัลชนะเลิศ มี 1 รางวัลๆ ละ 5,000 บาท พร้อมเกียรติบัตร
ผลงานเรื่อง :ชีวภัณฑ์จากเชื้อรา Myrothecium roridum ในการควบคุมผักตบชวา
โดย :
นางสาวอรวรรณ ปิยะบุญ
ดร.อาร์ม อันอาตม์งาม (คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ กำแพงแสน ภาควิชาวิทยาศาสตร์)
สถาบัน : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน - รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 2 มี 1 รางวัลๆ ละ 3,000 บาท พร้อมเกียรติบัตร
ผลงานเรื่อง : สาหร่ายลูกผสมเพื่อควบคุมโรคไวรัสตัวแดงจุดขาวในกุ้ง
โดย :
นางสาวอสมา เกียรติอร่ามกุล
ผศ.ดร.ศศิมนัส อุณจักร์ (คณะวิทยาศาสตร์ บางเขน ภาควิชาเคมี)
สถาบัน : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
รางวัลผลงานนวัตกรรมสายอุดมศึกษา ประจาปี 2559
ด้านวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี
- รางวัลระดับดี มี 1 รางวัลๆ ละ 10,000 บาท พร้อมเกียรติบัตร
ผลงานเรื่อง : การส่งผ่านพลังงานจากจักรยานออกกาลังกายสู่ระบบอุ่นอาหารโดยการให้ความร้อน ที่เกิดจากความต้านทานไฟฟ้า
โดย :
นายเตชิษฐ์ มงคลลักษมี
นางสาวณิลดี พิทักษ์ติกุล
นายสิทธิชัย อสงไชยเนาวรัตน์
ผศ.วงศ์ผกา วงศ์รัตน์ (คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน ภาควิชาวิศวกรรมอาหาร)
สถาบัน : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน
ด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและการแพทย์
- รางวัลระดับดี มี 2 รางวัลๆ ละ 10,000 บาท พร้อมเกียรติบัตร
ผลงานเรื่อง : การดึงดูดอนุภาคควันไฟป่า จากอากาศสู่พื้นดินวงแหวนไอน้าอิ่มตัวเสริมประจุไฟฟ้า
โดย :
นายวาวตะวัน กินโนนกอก
นางสาวอารยา คาจันทร์
นายศิรวัฒน์ ตันติรัตน์
นายพชร บุญมา
นายศุภณัฐ เฟื่องมะนะกูล
นายสาโรช สิริททวีสิน
นายชียพร เลิศมณีพงศ์
นายวรพจน์ ศตเดชากุล (คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล)
สถาบัน : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน
ด้านเกษตรและอาหาร
- รางวัลระดับดีเด่น มี 1 รางวัลๆ ละ 30,000 บาท พร้อมเกียรติบัตร
ผลงานเรื่อง : ชีวภัณฑ์จากเชื้อรา Myrothecium roridum ในการควบคุมผักตบชวา
โดย :
นางสาวอรวรรณ ปิยะบุญ
ดร.อาร์ม อันอาตม์งาม (คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ กำแพงแสน ภาควิชาวิทยาศาสตร์)
สถาบัน : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน - รางวัลระดับดีมาก มี 2 รางวัลๆ ละ 15,000 บาท พร้อมเกียรติบัตร
ผลงานเรื่อง : สาหร่ายลูกผสมเพื่อควบคุมโรคไวรัสตัวแดงจุดขาวในกุ้ง
โดย
นางสาวอสมา เกียรติอร่ามกุล
ผศ.ดร.ศศิมนัส อุณจักร์ (คณะวิทยาศาสตร์ บางเขน ภาควิชาเคมี)
สถาบัน : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Download : ประกาศสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติฯ ฉบับเต็ม
- รางวัลชนะเลิศ มี 1 รางวัลๆ ละ 5,000 บาท พร้อมเกียรติบัตร
-
ผลงานวิจัยเรื่อง Climate change, global food security, and the US food system ได้รับรางวัล 2016 Abraham Lincoln Honor Award for Increasing Global Food Security จากกระทรวงเกษตรของสหรัฐอเมริกา (USDA)
รางวัล “2016 Abraham Lincoln Honor Award for Increasing Global Food Security” ให้กับรายงานวิจัยเรื่อง “Climate Change, Global Food Security, and the U.S. Food System” โดยงานวิจัยต้องการศึกษาถึงผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่มีต่อความมั่นคงด้านอาหารของโลกผ่านระบบอาหารที่มีความซับซ้อน งานวิจัยดังกล่าวนี้มี ผศ.ดร.วิษณุ อรรถวานิช อาจารย์ประจำคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มีส่วนร่วมในรายงานวิจัยดังกล่าวนี้ด้วย รางวัลนี้จัดว่าเป็นรางวัลที่ทรงเกียรติสูงสุดของกระทรวงเกษตรของสหรัฐอเมริกา (USDA) ซึ่งมอบให้กับผลงานที่มีส่วนช่วยให้ทางกระทรวงเกษตรของประเทศสหรัฐอเมริกาบรรลุวิสัยทัศ พันธกิจ และเป้าประสงค์ ที่ตั้งไว้
หน่วยงานที่มอบรางวัล : กระทรวงเกษตรของประเทศสหรัฐอเมริกา (USDA)
รายละเอียดงานวิจัยสามารถอ่าน ได้ที่ : http://www.usda.gov/oce/climate_change/FoodSecurity.htm
รายชื่อผู้ร่วมในผลงาน : http://www2.ucar.edu/atmosnews/news/122958/food-security-report-wins-usda-award -
รศ.ดร. นธกฤต วันต๊ะเมล์ อาจารย์/นักวิจัยจากภาควิชานิเทศศาสตร์ฯ คณะมนุษยศาสตร์ ได้รับรางวัลบทความวิจัยดีเยี่ยม ระดับชาติ
รองศาสตราจารย์ ดร.นธกฤต วันต๊ะเมล์ หัวหน้าภาควิชานิเทศศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้รับรางวัลบทความวิจัยดีเยี่ยม ระดับชาติ ในสาขาภาษาและการสื่อสาร จากโครงการประกวดบทความและกรณีศึกษา ด้านพัฒนบริหารศาสตร์ ประจำปี 2559 ของสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ หรือนิด้า ในบทความวิจัยเรื่อง “Developing the effectiveness indicators of social marketing communication campaigns for reducing health-risk behaviors among youth: New empirical evidence from Thailand” โดยได้เข้ารับรางวัลพร้อมเกียรติบัตรจากท่านรองศาสตราจารย์ ดร.ประดิษฐ์ วรรณรัตน์ อธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร์ ในวันศุกร์ที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2559 เวลา 8.00-12.00 ณ ห้องประชุมจีระ บุญมาก ชั้น 3 อาคารสยามบรมราชกุมารี สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ การได้รับรางวัลในครั้งนี้ นับเป็นการสร้างชื่อเสียงทางด้านนิเทศศาสตร์ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์อีกครั้ง
ที่มา : เว็บไซต์ภาควิชานเทศศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ -
ศ.ดร.อุทัยรัตน์ ณ นคร อาจารย์/นักวิจัยจาก คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ได้รับทุนศาสตราจารย์วิจัยดีเด่น จาก สกว. ประจำปี 2559
ตามที่ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ได้พิจารณาคัดเลือกผู้สมควรได้รับทุนศาสตราจารย์วิจัยดีเด่น โดยมุ่งหวังที่จะสนับสนุนนักวิจัยอาวุธโสระดับศาสตราจารย์ที่มีผลงานวิจัยดีเด่นให้ได้มีโอกาสพัฒนาและผลิตผลงานวิจัยที่มีคุณภาพในระดับชาติและระดับนานาชาติอย่างต่อเนื่อง ซึ่งงานวิจัยดังกล่าวจะทำให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ที่มีผลกระทบทางวิชาการสูง หรือมีศักยภาพสูงมากในการนำไปประยุกต์เพื่อให้เกิดผลในเชิงปฏิบัติหรือสร้างผลกระทบต่อสังคมและประเทศชาติ ในการนี้ สกว. ได้พิจารณาคัดเลือกผู้สมควรได้รับทุนศาสตราจารย์วิจัยดีเด่น ประจำปี 2559 จำนวน 3 ท่าน ตามประกาศที่แนบ
- Download : ประกาศ สกว.
- รายละเอียด (ข้อมูลจาก : e News Kasetsart ฉบับที่ 3 วันที่ 21 พ.ค.59)
-
นักวิจัยจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คว้ารางวัลจากมูลนิธิโทเร เพื่อการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ ประเทศไทย (TTSF) จำนวน 3 รางวัล
นักวิจัยจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คว้ารางวัลจากมูลนิธิโทเร เพื่อการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ ประเทศไทย (Thailland Toray Science Foundation :TTSF) จำนวน 3 รางวัล และเข้ารับรางวัลจากพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ องคมนตรี เมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2559 ณ โรงแรมสวิสโซเทล ปาร์ค นายเลิศ ดังนี้
รางวัลวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประเภทหน่วยงาน
ศ.ดร.ธีรภาพ เจริญวิริยะภาพ อาจารย์ภาควิชากีฎีวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และกลุ่มทีมวิจัย ผลงาน เรื่อง “บทบาทของแมลงและสัตว์ขาปล้องที่เป็นปัญหาในชุมชน ปศุสัตว์ และสาธารณสุข ของประเทศไทย” Research Team: Urban Pest and Vector Control Unit รับเงินรางวัลจำนวน 400,000 บาท << รายละเอียด >>
รางวัลทุนช่วยเหลือทางด้านวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา จำนวน 2 รางวัล ได้แก่
ดร.ศิวเรศ อารีกิจ อาจารย์ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตรกำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน โครงการ “การค้นหาความแตกต่างของรูปแบบอัลลีลยีนความหอมที่สัมพันธ์กับระดับปริมาณสารหอม 2-อะเซททิล-1-ไพโรลีน (2AP) ในมะพร้าวน้ำหอม” รับทุนช่วยเหลือทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นเงิน 210,000 บาท << รายละเอียด >>
ดร.อุดมลักษณ์ สุขอัตตะ นักวิจัยจากสถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โครงการ “องค์ประกอบทางเคมีและฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัดหมากเพื่อการใช้ประโยชน์ในเครื่องสำอาง” รับทุนช่วยเหลือทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นเงิน 200,000 บาท << รายละเอียด >>
ที่มา : รายละเอียดจากงานประชาสัมพันธ์ มก., 14 มีนาคม 2559
รูปภาพจาก : สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่ง มก. -
นิสิตและอาจารย์/นักวิจัยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ได้รับรางวัลชนะเลิศ ในการประกวดผลงานรางวัลนักคิดสิ่งประดิษฐ์รุ่นใหม่ ประจำปี 2559
อาจารย์/นักวิจัย และนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ได้รับรางวัลชนะเลิศ ในการประกวดผลงานรางวัลนักคิดสิ่งประดิษฐ์รุ่นใหม่ ประจำปี 2559
นางสาวฐิตาภรณ์ ตัมพานุวัตร และ รศ.ดร.วีรเชษฐ์ จิตตาณิชย์ ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้รับรางวัลชนะเลิศในการประกวดผลงานรางวัลนักคิดสิ่งประดิษฐ์รุ่นใหม่ ประจำปี 2559 ประเภทอุดมศึกษา สาขาสิ่งประดิษฐ์ด้านเกษตรศาสตร์ ในหัวข้อเรื่อง “A hybrid fluidized bed and heat pump dryer” ในงานวันนักประดิษฐ์ จากรองนายกรัฐมนตรี พลอากาศเอกประจิน จั่นตอง ซึ่งจัดโดยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ระหว่างวันที่ 2-6 กุมภาพันธ์ 2559 ณ ศูนย์การประชุมไบเทค บางนา