ดร. สุภาสิณี นุ่มเนียม

m12

ชื่อ-สกุล                                       ดร. สุภาสิณี นุ่มเนียม                       รหัสอาจารย์ที่ปรึกษา           F8019

ที่อยู่ ติดต่อ E-mail และอื่นๆ

Email : fedusnnm@ku.ac.th

ความเชี่ยวชาญ

การศึกษาเพื่อการพัฒนา / การจัดการความรู้

การศึกษา

ปริญญาเอก          ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต (พัฒนศึกษา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (พ.ศ.2553)

ปริญญาโท            ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาสังคม) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (พ.ศ.2546)

ปริญญาตรี            บริหารธุรกิจบัณฑิต (การจัดการทั่วไป)  มหาวิทยาลัยรามคำแหง (พ.ศ.2536)

ผลงานทางวิชาการ (ตำรา/หนังสือ/บทความ/เอกสารประกอบการสอน)

บทความ:

1) สุภาสิณี นุ่มเนียม. แนวทางส่งเสริมความรู้ด้านการลดการใช้สารเคมีตามหลักการเกษตรพอเพียงที่สอดคล้องกับความต้องการของเกษตรกรตำบลหน้าโคก อำเภอผักไห่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วารสารการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 10

2) สุภาสิณี นุ่มเนียม. 2558. แนวทางส่งเสริมความรู้แบบมีส่วนร่วม เรื่องการลดการใช้สารเคมี การลดรายจ่ายและเพิ่มรายได้ตามหลักการเกษตรพอเพียง แก่เกษตรกรตำบลหน้าโคก อำเภอผักไห่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วารสารวิชาการ Viridian E-Journal ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ. 8, 1 (มกราคม-เมษายน): หน้า 1212-1230. (เอกสารหมายเลข 2) ได้เผยแพร่ในลักษณะบทความวิจัยในวารสารทางวิชาการ

เอกสารประกอบการสอน:

สุภาสิณี นุ่มเนียม. เอกสารประกอบการสอน วิชาการจัดการศึกษาทางเกษตรและสิ่งแวดล้อมศึกษาในชุมชน

งานวิจัย/การตีพิมพ์

1) สุภาสิณี นุ่มเนียม และคณะ. 2556. ศักยภาพและแนวทางการบริหารจัดการหลักสูตรเกษตรศึกษา. คณะศึกษาศาสตร์และพัฒนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน.

2) สุภาสิณี นุ่มเนียม และคณะ. 2556. ความต้องการและแนวทางการส่งเสริมความรู้ด้านการเกษตรยั่งยืนของประชาชน ตำบลศรีพราน อำเภอแสวงหา จังหวัดอ่างทอง. องค์การบริหารส่วนตำบลศรีพราน อำเภอแสวงหา จังหวัดอ่างทอง..

3) สุภาสิณี นุ่มเนียม. 2557. แนวทางการส่งเสริมความรู้แบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาศักยภาพเกษตรกรด้านการลดการใช้สารเคมี การลดรายจ่ายและการเพิ่มรายได้ ตามหลักการเกษตรพอเพียง ขององค์การบริหารส่วนตำบลหน้าโคก อำเภอผักไห่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. ภาควิชาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชน คณะศึกษาศาสตร์และพัฒนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากองค์การบริหารส่วนตำบลหน้าโคก อำเภอผักไห่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.  .

ผลงานอื่นๆ